วันจันทร์ที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2560
วันพฤหัสบดีที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2560
ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง พันธะเคมี
ตัวอย่างข้อสอบ เรื่อง พันธะเคมี
1.จำนวนพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุล
CH4 , SiCl4 , NaCl , NH3 เป็นกี่พันธะมีค่าเรียงตามลำดับ คือข้อใด
ก. 4 , 4 , 0 , 3 ข. 6 , 3 , 1 , 0 ค. 4 , 3 , 0 , 3 ง. 5 , 4 , 1 , 0
2. พันธะเดี่ยว หมายถึงอะไร
ก. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่
ข. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
ค. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่
ง. พันธะที่เกิดจากการใช้์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวร่วมกัน 1 คู่
3. ธาตุในข้อใด เกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคลอรีนได้ดีที่สุด
ก. Na ข. Ra ค. C ง. Cs
4. สมบัติทางกายภาพในข้อใด ที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ
ก. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
ข. พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ
ค. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
ง. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง
5. ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ลำดับที่หนึ่งถึงลำดับที่ 8 เป็นดังนี้ 1.320, 3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343, 84.086 ธาตุ Z มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด
ก. 1 ข. 4 ค. 6 ง. 7
6. ตารางแสดงค่าพลังงานพันธะเฉลี่ยในสารไฮโดรคาร์บอน
ก. 4 , 4 , 0 , 3 ข. 6 , 3 , 1 , 0 ค. 4 , 3 , 0 , 3 ง. 5 , 4 , 1 , 0
2. พันธะเดี่ยว หมายถึงอะไร
ก. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 1 คู่
ข. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 2 คู่
ค. พันธะที่เกิดจากการใช้เวเลนซ์อิเล็กตรอนร่วมกัน 3 คู่
ง. พันธะที่เกิดจากการใช้์อิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยวร่วมกัน 1 คู่
3. ธาตุในข้อใด เกิดพันธะโคเวเลนต์กับธาตุคลอรีนได้ดีที่สุด
ก. Na ข. Ra ค. C ง. Cs
4. สมบัติทางกายภาพในข้อใด ที่ใช้อธิบายสมบัติทางเคมีของอโลหะ
ก. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมใหญ่ สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
ข. พลังงานไอออไนเซชันต่ำ ขนาดอะตอมใหญ่ อิเล็กโทรเนกาติวิตีต่ำ
ค. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก สัมพรรคภาพอิเล็กตรอนน้อย
ง. พลังงานไอออไนเซชันสูง ขนาดอะตอมเล็ก อิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง
5. ธาตุ Z มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ลำดับที่หนึ่งถึงลำดับที่ 8 เป็นดังนี้ 1.320, 3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343, 84.086 ธาตุ Z มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่าใด
ก. 1 ข. 4 ค. 6 ง. 7
6. ตารางแสดงค่าพลังงานพันธะเฉลี่ยในสารไฮโดรคาร์บอน
ชนิดพันธะ
|
พลังงานพันธะ
|
C - H
|
413
|
C - C
|
348
|
การสลายพันธะโพรเพน
(C3H8)
0.5 โมล
จะต้องใช้พลังงานมากกว่าหรือน้อยกว่าการสลายพันธะอีเทน (C2H6)
0.5 โมล เท่าไร
ก. มากกว่า 587 kJ ข. น้อยกว่า 283 kJ ค. มากกว่า 526 kJ ง. น้อยกว่า 278 kJ
7. เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ
ก. สารโคเวเลนต์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ข. สารโคเวเลนต์มักสลายตัวได้ง่าย
ค. สารโคเวเลนต์ไม่มีประจุไฟฟ้า ง. สารโคเวเลนต์มักมีโมเลกุลขนาดเล็ก
8. สารละลายที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 กับน้ำ มีสมบัติอย่างไร
ก. เป็นกลาง ข. เป็นได้ทั้งกรดและเบส ค. เป็นกรด ง. เป็นเบส
9. สาร X เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว สาร Y เป็นโมเลกุลมีขั้ว ส่วนสาร Z เป็นพันธะไม่มีขั้ว ถ้าขนาดของโมเลกุลของ X>Y>Z แล้วสาร X Y และ Z ควรเป็นดังข้อใด
ก. CH2 , NH3 , C6H6 ข. BeCl2 , CH2Cl2 , S8 ค. Br2 , H2O , H2 ง. SiH4 , PCl3 , PCl5
10. กำหนดค่า EN ของธาตุดังนี้ A = 3.0 , B = 2.8 X= 2.7 , Y = 3.7 จงเรียงลำดับความแรงขั้วจากมากไปน้อย
ก. A-B , B-X , X-Y ข. A-Y , B-X , A-X ค. Y-B , A-Y , A-X ง. A-X , B-Y , A-Y
11. ถ้า A , B และ C เป็นสารโคเวเลนต์ 3 ชนิด โดยทั้ง 3 ชนิดมีสถานะเป็นของเหลว โมเลกุลของสาร A และ B มีขั้ว ส่วนโมเลกุลของสาร C ไม่มีขั้ว สารใดสามารถละลายน้ำได้
ก. สาร C ข. สาร A และ C ค. สาร A เเละ B ง. สาร B และ C
12. จงระบุว่าสารในข้อใดละลายน้ำได้
1) แคลเซียมคลอไรด์ 2) แอมโมเนียมซัลเฟต 3 )เมอร์คิวรี(I)คลอไรด์
4) ไ อร์ออน(III)ไฮดรอกไซด์ 5) โพแทสเซียมฟอสเฟต
ก. 1 2 3 ข. 1 2 5 ค. 2 3 4 ง. 2 3 5
13. ถ้า A, B ,C ,D เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 7,11,17 และ 20 ตามลำดับ สูตรของไอออนและสารประกอบไอออนิกในข้อใดถูกต้อง
ก. มากกว่า 587 kJ ข. น้อยกว่า 283 kJ ค. มากกว่า 526 kJ ง. น้อยกว่า 278 kJ
7. เหตุใดสารโคเวเลนต์ จึงมีจุดเดือด จุดหลอมเหลวต่ำ
ก. สารโคเวเลนต์มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลน้อย ข. สารโคเวเลนต์มักสลายตัวได้ง่าย
ค. สารโคเวเลนต์ไม่มีประจุไฟฟ้า ง. สารโคเวเลนต์มักมีโมเลกุลขนาดเล็ก
8. สารละลายที่เกิดจากธาตุหมู่ 1 กับน้ำ มีสมบัติอย่างไร
ก. เป็นกลาง ข. เป็นได้ทั้งกรดและเบส ค. เป็นกรด ง. เป็นเบส
9. สาร X เป็นโมเลกุลไม่มีขั้ว สาร Y เป็นโมเลกุลมีขั้ว ส่วนสาร Z เป็นพันธะไม่มีขั้ว ถ้าขนาดของโมเลกุลของ X>Y>Z แล้วสาร X Y และ Z ควรเป็นดังข้อใด
ก. CH2 , NH3 , C6H6 ข. BeCl2 , CH2Cl2 , S8 ค. Br2 , H2O , H2 ง. SiH4 , PCl3 , PCl5
10. กำหนดค่า EN ของธาตุดังนี้ A = 3.0 , B = 2.8 X= 2.7 , Y = 3.7 จงเรียงลำดับความแรงขั้วจากมากไปน้อย
ก. A-B , B-X , X-Y ข. A-Y , B-X , A-X ค. Y-B , A-Y , A-X ง. A-X , B-Y , A-Y
11. ถ้า A , B และ C เป็นสารโคเวเลนต์ 3 ชนิด โดยทั้ง 3 ชนิดมีสถานะเป็นของเหลว โมเลกุลของสาร A และ B มีขั้ว ส่วนโมเลกุลของสาร C ไม่มีขั้ว สารใดสามารถละลายน้ำได้
ก. สาร C ข. สาร A และ C ค. สาร A เเละ B ง. สาร B และ C
12. จงระบุว่าสารในข้อใดละลายน้ำได้
1) แคลเซียมคลอไรด์ 2) แอมโมเนียมซัลเฟต 3 )เมอร์คิวรี(I)คลอไรด์
4) ไ อร์ออน(III)ไฮดรอกไซด์ 5) โพแทสเซียมฟอสเฟต
ก. 1 2 3 ข. 1 2 5 ค. 2 3 4 ง. 2 3 5
13. ถ้า A, B ,C ,D เป็นธาตุที่มีเลขอะตอม 7,11,17 และ 20 ตามลำดับ สูตรของไอออนและสารประกอบไอออนิกในข้อใดถูกต้อง
ข้อ
|
ไอออนบวก
|
ไอออนลบ
|
สูตรสารประกอบไอออนิก
|
ก
|
D2+
|
A3-
|
D3A2
|
ข
|
C3+
|
B2-
|
C2B3
|
ค
|
B+
|
A-
|
BA
|
ง
|
A+
|
C-
|
AC
|
14. X เป็นสารประกอบของธาตุ
Ca และ F มีจุดหลอมเหลวสูง
ไม่นำไฟฟ้าที่อุณหภูมิห้อง และละลายน้ำได้น้อยมาก ข้อสรุปใดต่อไปนี้ ไม่ สอดคล้องกับข้อมูลข้างต้น
ก. พันธะในสาร X เป็นพันธะไอออนิก
ข. เมื่อ X ละลายน้ำ จะดูดความร้อน ทำให้ละลายได้น้อย
ค. X มีสูตร CaF2 ผลึกมีความแข็งแรงมากจึงละลายได้ยาก
ง. สาร X เมื่อหลอมเหลวจะนำไฟฟ้า
15. เมื่อละลาย KCl ในน้ำเกิดปฏิกิริยาเป็นขั้น ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้
1) KCl(s) -----> K+(g) + Cl-(aq) H1 = 701.2 kJ/mol
2) K+(g) + Cl-(g) -------> K+(aq) + Cl-(aq) H2 = 684.1 kJ/mol
ปฏิกิริยานี้เป็นแบบใด
ก. คายพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol ข. คายพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol
ค. ดูดพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol ง. ดูดพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol
16. สาร X , Y , Z มีพลังงานพันธะเป็น 120 , 200 , 90 kJ/mol ตามลำดับ จงเรียงความยาวพันธะจากน้อยไปมาก
ก. X , Y , Z ข. Z , Y , X ค. Y , X , Z ง. Z , X , Y
17. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก
ก. นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ ข. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ
ค. จัดเรียงตัวเป็นผลึก ง. มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์
18. พันธะเคมี หมายถึง อะไร
ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ข. พลังงานที่ทำให้อะตอมสลายตัว
ค. การอยู่รวมกันของอะตอม ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล
19. กำหนดการจัดอิเล็กตรอนของธาตุให้ ดังนี้ A 2,8,2 B 2,8,8,1 C 2,8,7 D 2,8,18, 8 ธาตุคู่ใดมีการเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกได้
ก. A กับ D ข. C กับ D ค. B กับ C ง. B กับ D
ก. พันธะในสาร X เป็นพันธะไอออนิก
ข. เมื่อ X ละลายน้ำ จะดูดความร้อน ทำให้ละลายได้น้อย
ค. X มีสูตร CaF2 ผลึกมีความแข็งแรงมากจึงละลายได้ยาก
ง. สาร X เมื่อหลอมเหลวจะนำไฟฟ้า
15. เมื่อละลาย KCl ในน้ำเกิดปฏิกิริยาเป็นขั้น ๆ และมีการเปลี่ยนแปลงพลังงาน ดังนี้
1) KCl(s) -----> K+(g) + Cl-(aq) H1 = 701.2 kJ/mol
2) K+(g) + Cl-(g) -------> K+(aq) + Cl-(aq) H2 = 684.1 kJ/mol
ปฏิกิริยานี้เป็นแบบใด
ก. คายพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol ข. คายพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol
ค. ดูดพลังงานเท่ากับ 17.1 kJ/mol ง. ดูดพลังงานเท่ากับ 1385.3 kJ/mol
16. สาร X , Y , Z มีพลังงานพันธะเป็น 120 , 200 , 90 kJ/mol ตามลำดับ จงเรียงความยาวพันธะจากน้อยไปมาก
ก. X , Y , Z ข. Z , Y , X ค. Y , X , Z ง. Z , X , Y
17. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก
ก. นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ ข. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ
ค. จัดเรียงตัวเป็นผลึก ง. มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์
18. พันธะเคมี หมายถึง อะไร
ก. แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอม ข. พลังงานที่ทำให้อะตอมสลายตัว
ค. การอยู่รวมกันของอะตอม ง. การอยู่รวมกันของโมเลกุล
19. กำหนดการจัดอิเล็กตรอนของธาตุให้ ดังนี้ A 2,8,2 B 2,8,8,1 C 2,8,7 D 2,8,18, 8 ธาตุคู่ใดมีการเกิดเป็นสารประกอบไอออนิกได้
ก. A กับ D ข. C กับ D ค. B กับ C ง. B กับ D
20. เพราะเหตุใด
อโลหะจึงยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์
ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย
ค. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนยาก ง. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนง่าย
ก. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนยาก ข. อโลหะมีค่า EN สูงเสียอิเล็กตรอนง่าย
ค. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนยาก ง. อโลหะมีค่า EN ต่ำเสียอิเล็กตรอนง่าย
21. ธาตุที่เกิดพันธะไอออนิกกับออกซิเจนได้ดีที่สุด
คือ ข้อใด
ก. กำมะถัน ข. คลอรีน ค. ดีบุก ง. โซเดียม
ก. กำมะถัน ข. คลอรีน ค. ดีบุก ง. โซเดียม
22. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสูตรของสารประกอบ
เมอร์คูริกซัลไฟด์
ก. CuCl ข. KBr ค. PbS ง. HgS
ก. CuCl ข. KBr ค. PbS ง. HgS
23. การเกิดสารประกอบ
NaF(s) ข้อใดคือสมการรวมของปฏิกิริยา
ก. Na(g) + 1/2F2(g) ------> NaF(s)
ข. Na(s) + 2F2(g) -------> NaF(s)
ค. Na(g) + 1/2F(s) ------> NaF(s)
ง. Na(s) + 1/2F2(g) ------> NaF(s)
ก. Na(g) + 1/2F2(g) ------> NaF(s)
ข. Na(s) + 2F2(g) -------> NaF(s)
ค. Na(g) + 1/2F(s) ------> NaF(s)
ง. Na(s) + 1/2F2(g) ------> NaF(s)
24. การที่อะตอมพยายามปรับตัวเองให้อยู่ในสภาพเสถียรโดยทำให้อิเล็กตรอนวงนอกสุดเท่ากับ
8 เรียกกฎนี้ว่าอะไร
ก. กฎออกซิเดชั่น ข. กฎออกเตต ค. กฎโคเวเลนต์ ง. กฎไอออนิก
ก. กฎออกซิเดชั่น ข. กฎออกเตต ค. กฎโคเวเลนต์ ง. กฎไอออนิก
25. ข้อใด ไม่ เกี่ยวข้องกับพันธะเคมี
ก. รับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น ข. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ค. แย่งอิเล็กตรอนกับอะตอมอื่น ง. ให้อิเล็กตรอนกับอะตอมอื่น
26. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก
ก. มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์ ข. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ
ค. จัดเรียงตัวเป็นผลึก ง. นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ
ก. รับอิเล็กตรอนจากอะตอมอื่น ข. ใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ค. แย่งอิเล็กตรอนกับอะตอมอื่น ง. ให้อิเล็กตรอนกับอะตอมอื่น
26. ข้อใดกล่าว ไม่ ถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของสารประกอบไอออนิก
ก. มีผลรวมของประจุสุทธิ เป็น ศูนย์ ข. เกิดจากการรวมตัวของไอออนบวกกับไอออนลบ
ค. จัดเรียงตัวเป็นผลึก ง. นำไฟฟ้าได้ทุกสถานะ
27. การที่โลหะรวมกับอโลหะแล้วโลหะจะให้อิเล็กตรอนแก่อโลหะ
เกิดไอออนบวกและไอออนลบ
ดึงดูดกัน ด้วยแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิต สร้างพันธะไอออนิกขึ้นในสารประกอบนั้น
เพราะเหตุใด
ก. โลหะมีขนาดอะตอมเล็กกว่าอโลหะ
ข. อโลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าโลหะ
ค. โลหะมีค่า IE ต่ำ จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย
ง. โลหะมีค่า IE สูง จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย
28. กำหนดให้
ข. อโลหะมีขนาดอะตอมใหญ่กว่าโลหะ
ค. โลหะมีค่า IE ต่ำ จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย
ง. โลหะมีค่า IE สูง จึงให้อิเล็กตรอนได้ง่าย เพื่อปรับเวเลนซ์อิเล็กตรอนแบบก๊าซเฉื่อย
28. กำหนดให้
1. NaNO3 + KCl 2. NH4Cl +
Ca(OH)2 3. K2SO4 + BaCl2
4. AgNO3 + KCl
5. Na2SO4 +
Pb(NO3)2 6. Na2CO3 +
CaCl2
การผสมสารละลายของสารประกอบไอออนิกคู่ใด ทำให้เกิดตะกอน
การผสมสารละลายของสารประกอบไอออนิกคู่ใด ทำให้เกิดตะกอน
ก.
1 3 4 5 ข. 3 4 5
6 ค. 2 3 4 5 ง.
1 4 5 6
29. สารโคเวเลนต์ชนิดหนึ่งมีสูตร AH3 และรูปร่างโมเลกุลเป็นสามเหลี่ยมแบนราบ อะตอม A ในสารนี้ไม่มีอิเล็กตรอนคู่โดดเดี่ยว
ข้อใดที่น่าจะเป็นสมบัติของสาร AH3
ก.โมเลกุลมีขั้ว ละลายน้ำ จุดเดือดต่ำ
ข.เกิดพันธะไฮโดรเจน จุดเดือดสูง
และละลายน้ำได้
ค.โมเลกุลไม่มีขั้ว
และมีแรงแวนเดอร์วาลส์ (ลอนดอน) เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ง.โมเลกุลไม่มีขั้ว
แต่เกิดพันธะไฮโดรเจนได้
30. ตารางข้างล่างนี้แสดงจุดหลอมเหว จุดเดือด และความสามารถในการนำไฟฟ้า
เมื่อหลอมเหลวของสารประกอบคลอไรด์ A , B และC
สารประกอบคลอไรด์
|
จุดหลอมเหลว
|
จุดเดือด
|
การนำไฟฟ้า
|
A
|
883
|
1650
|
ดีมาก
|
B
|
1148
|
2750
|
ดี
|
C
|
548
|
1005
|
ไม่ดี
|
สิ่งที่สรุปได้จากข้อมูลคือ
ก. A และ B เป็นสารประกอบไอออนิก ข. A,B
และ
C เป็นสารประกอบไอออนิก
ค. A เป็นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว ง. B เป็นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว
ค. A เป็นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว ง. B เป็นสารประกอบไอออนิกเพียงสารเดียว
31. สารใดมีรูปร่างโมเลกุล ไม่ เหมือนกัน
ก. HO2 และ SBr2 ข. NOCl และ COS ค. HCl และ CS2 ง. CCl4และ POCl3
32. สารในข้อใด เป็นโมเลกุลมีขั้ว แต่ ไม่มี พันธะไฮโดรเจน
ก. HF ข. NH3 ค. C2H5OH ง. SO2
กำหนด พลังงานพันธะ(kJ/mol) C-C = 348 C=C = 614 C-H =413 C-Cl = 339 Cl-Cl = 242
C=O = 745 C-O = 358 O-H = 463 O=O = 498
33. ถ้าไซโคลเฮกซีน(C6H10) เกิดปฏิกิริยาการรวมตัวกับคลอรีนจะมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานกี่กิโลจูลต่อโมล
ก. 170 ข. 340 ค. 412 ง. 242
34. ในการเผาไหม้โพรทานอล
( C3H7OH ) 1 โมล ได้ผลิตภัณฑ์เป็น
แก๊ส CO2 และ H2O (ไอน้ำ) จะดูดหรือคายพลังงาน กี่กิโลจูลต่อโมล
ก. ดูดพลังงาน 1.52 kJ ข. คายพลังงาน 1,525 kJ
ค. ดูดพลังงาน 1,883 kJ ง. คายพลังงาน 1,883 kJ
35. กำหนดให้ ธาตุ A มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ ลำดับที่ 1 ถึง 8 ดังนี้ 1.320,3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343 และ 84.086
ก. ดูดพลังงาน 1.52 kJ ข. คายพลังงาน 1,525 kJ
ค. ดูดพลังงาน 1,883 kJ ง. คายพลังงาน 1,883 kJ
35. กำหนดให้ ธาตุ A มีพลังงานไอออไนเซชันตั้งแต่ ลำดับที่ 1 ถึง 8 ดังนี้ 1.320,3.395, 5.307, 7.476, 10.996, 13.333, 71.343 และ 84.086
ธาตุ B มีพลังงานไอออไนเซชัน ตั้งแต่ลำดับที่ 1 ถึง 4 ดังนี้
800, 2400, 3700 และ 25000
จงพิจารณาข้อความต่อไปนี้
1. สูตรทั่วไปของสารประกอบ AB คือ A2B3
2. สารประกอบ AB เมื่อละลายในน้ำแล้วเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน แต่ไม่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง
3. สารประกอบ AB มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
4. สารประกอบ AB ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์และมีลักษณะเป็นของเหลว
ข้อใดถูก
1. สูตรทั่วไปของสารประกอบ AB คือ A2B3
2. สารประกอบ AB เมื่อละลายในน้ำแล้วเปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากแดงเป็นน้ำเงิน แต่ไม่เปลี่ยนกระดาษลิตมัสจากน้ำเงินเป็นแดง
3. สารประกอบ AB มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง
4. สารประกอบ AB ยึดเหนี่ยวกันด้วยพันธะโคเวเลนต์และมีลักษณะเป็นของเหลว
ข้อใดถูก
ก. 1,4
ข. 2,3
ค.
ค. เฉพาะ 3
ง. เฉพาะ 4
36. ข้อมูลแสดงค่าพลังงานที่เกี่ยวข้องกับการละลายสาร A, B, และ C เป็นดังนี้
สาร
|
พลังงานไฮเดรชัน
|
พลังงานแลตทิซ
|
A
|
745
|
750
|
B
|
590
|
550
|
C
|
690
|
700
|
ถ้าใช้สาร A, B และ C จำนวนโมลเท่ากัน
ละลายในน้ำที่มีปริมาตร
100 cm3 การเปรียบเทียบอุณหภูมิของแต่ละสารละลาย ข้อใดถูก
ก. A
> B >
C ข. B
> A >
C ค. B
> C >
A ง. C
> A > B
37. กำหนดให้ พลังงานแลตทิชของ NaCl = 787 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชั่นของ Na(g) = 494 kJ/mol
37. กำหนดให้ พลังงานแลตทิชของ NaCl = 787 kJ/mol พลังงานไอออไนเซชั่นของ Na(g) = 494 kJ/mol
พลังงานของ Cl2(g)
= 242 kJ/mol
พลังงานสัมพรรคภาพอิเล็กตรอนของ
Cl(g) = 347 kJ/mol
พลังงานการระเหิดของ
Na(s) = 109 kJ/mol
ปฏิกิริยา Na(s) + 1/2Cl2 ------>
NaCl(s) ที่ 25 C คายพลังงานความร้อนจำนวนเท่าใด
ก. 410 kJ ข. 531 kJ ค. 724 kJ ง. 1134 kJ
38. 38Sr ทำปฎิกิริยากับ 16S สารประกอบที่ได้ควรมีสูตรอย่างไร
ก. SrS3 ข. Sr2S3 ค. SrS ง. Sr3S3
ก. 410 kJ ข. 531 kJ ค. 724 kJ ง. 1134 kJ
38. 38Sr ทำปฎิกิริยากับ 16S สารประกอบที่ได้ควรมีสูตรอย่างไร
ก. SrS3 ข. Sr2S3 ค. SrS ง. Sr3S3
39. สูตรโครงสร้างลิวอิสตามกฏออกเตตของโมเลกุลและไอออนต่อไปนี้ ข้อใดไม่มีขั้ว
ก. OF2 ข. FNO ค. CO ง. OCS
ก. OF2 ข. FNO ค. CO ง. OCS
40. อะตอมของธาตุใดที่อยู่ในสภาพที่เสถียร
ก. ฮีเลียม ข. ไนโตรเจน ค. ไฮโดรเจน ง. อาร์ซินิก
41. ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ ถูกต้อง
ก. ฮีเลียม ข. ไนโตรเจน ค. ไฮโดรเจน ง. อาร์ซินิก
41. ข้อความใดต่อไปนี้ ไม่ ถูกต้อง
ก.
พันธะโคเวเลนต์เป็นพันธะที่เกิดจากการใช้อิเล็กตรอนเป็นคู่ๆ
ข.
พันธะไอออนิกเป็นแรงดึงดูดระหว่างไอออนที่มีประจุต่างกัน
ค.
พันธะโลหะเป็นพันธะที่เกิดจากแรงดึงดูดระหว่างอะตอมของโลหะกับอิเล็กตรอนทั้งหมดที่มีอยู่ในโลหะ
ง.
พันธะไอออนิก ทำให้สารไอออนิกไม่มีสูตรโมเลกุลและมีจุดหลอมเหลวสูง
42. อะตอมที่ให้หรือรับอิเล็คตรอน จะเกิดเป็นพันธะใด
42. อะตอมที่ให้หรือรับอิเล็คตรอน จะเกิดเป็นพันธะใด
ก. พันธะเคมี ข.
พันธะไอออนิก ค.
พันธะโคเวเลนต์ ง. พันธะโลหะ
43. ประเภทของพันธะหรือแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคในสารต่อไปนี้ เหล็ก,
น้ำตาลกลูโคส,
เกลือแกง
ข้อใดต่อไปนี้ เป็นการเรียงลำดับอย่างถูกต้อง
ก. พันธะโลหะ ,
พันธะโคเวเลนต์,
แรงลอนดอน ข. แรงลอนดอน,
พันธะไอออนิก,
พันธะโคเวเลนต์
ค. พันธะไอออนิก, พันธะโคเวเลนต์, พันธะโลหะ ง. พันธะโลหะ, แรงลอนดอน, พันธะไอออนิก
ค. พันธะไอออนิก, พันธะโคเวเลนต์, พันธะโลหะ ง. พันธะโลหะ, แรงลอนดอน, พันธะไอออนิก
44. ข้อใดต่อไปนี้ผิด
ก. สารประกอบไอออนิกมักเกิดระหว่างธาตุที่มีพลังงานไอออไนเชชันต่ำกับธาตุที่มีค่าENสูง
ข. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบไอออนิกจะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ค. การเกิดสารประกอบไอออนิกเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ง. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงทางไฟฟ้า
ก. สารประกอบไอออนิกมักเกิดระหว่างธาตุที่มีพลังงานไอออไนเชชันต่ำกับธาตุที่มีค่าENสูง
ข. เมื่อหลอมเหลวสารประกอบไอออนิกจะเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ค. การเกิดสารประกอบไอออนิกเป็นปฏิกิริยาดูดความร้อน
ง. สารประกอบไอออนิกยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงทางไฟฟ้า
45. ข้อใด ไม่ใช่ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
ก. แรงแวนเดอร์วาลส์ ข. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว ค. พันธะไฮโดรเจน ง. พันธะโคเวเลนต์
ก. แรงแวนเดอร์วาลส์ ข. แรงดึงดูดระหว่างขั้ว ค. พันธะไฮโดรเจน ง. พันธะโคเวเลนต์
46. พิสูจน์ใดที่เเสดงว่าผลึกโซเดียมคลอไรด์เป็นสารประกอบไอออนิก
อนิก ก. ผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำ สารละลายที่ได้จะมีจุดเยือกเเข็งลดลง
ข. โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนำไฟฟ้าได้
ค. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำเเล้วคายพลังงาน
ง. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำนำไฟฟ้าได้
อนิก ก. ผลึกโซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำ สารละลายที่ได้จะมีจุดเยือกเเข็งลดลง
ข. โซเดียมคลอไรด์ที่หลอมเหลวนำไฟฟ้าได้
ค. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำเเล้วคายพลังงาน
ง. โซเดียมคลอไรด์ละลายน้ำนำไฟฟ้าได้
47. รูปร่างโมเลกุลของสารในข้อใดเป็นรูปสามเหลี่ยมแบนราบ
ก. NH4+ และ SiH4 ข. SO3 และ BF3 ค. CH3Cl
และ
O3 ง. PH3 และ CH2O
48. ธาตุ A และ B มีเลขอะตอม 15 และ 35 ตามลำดับ คลอไรด์ของ A และ B ควรมีรูปร่างอย่างไร
ตามลำดับ
ก. สามเหลี่ยมแบนราบ และพีระมิดฐานสามเหลี่ยม ข. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม และเส้นตรง
ค. ทรงสี่หน้า และสามเหลี่ยมแบนราบ ง. พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม และเส้นตรง
49. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์เรียงตามลำดับจากมากไปน้อยดังข้อใด
ก. สามเหลี่ยมแบนราบ และพีระมิดฐานสามเหลี่ยม ข. พีระมิดฐานสามเหลี่ยม และเส้นตรง
ค. ทรงสี่หน้า และสามเหลี่ยมแบนราบ ง. พีระมิดคู่ฐานสามเหลี่ยม และเส้นตรง
49. มุมระหว่างพันธะในโมเลกุลโคเวเลนต์เรียงตามลำดับจากมากไปน้อยดังข้อใด
ก. CS2 >
BF3 > CH4 > Cl2O
ข. Cl2O
> CS2 > BF3 > CH4
ค. BF3 > CS2 > Cl2O > CH4 ง. CS2 > Cl2O > BF3 > CH4
50. ข้อใดเป็นโมเลกุล ไม่มีขั้ว
ค. BF3 > CS2 > Cl2O > CH4 ง. CS2 > Cl2O > BF3 > CH4
50. ข้อใดเป็นโมเลกุล ไม่มีขั้ว
ก. CO2,
CCl4 และ CH3Cl
ข. CO2,
SF6 และ BCl3
ค. BCl3, NCl3 และ CCl4 ง. HCN, NCl3 และ CO2
ค. BCl3, NCl3 และ CCl4 ง. HCN, NCl3 และ CO2
เฉลย
1. ก 2. ก 3. ค 4. ง 5. ค 6. ก 7. ก8 . ง9 . ค10 . ค11. ค12. ข13. ก14. ข15. ค16. ค17. ก18. ก19. ค20. ก21. ง22. ง23. ง24. ข25. ค26. ง27. ค28. ข29. ค30. ก31. ข32. ง33. ก34. ข35. ค36. ค37. ก38. ค39. ก40. ก41. ค42. ข43. ง44. ค45. ง46. ข47. ข48. ข49. ก50. ข
บทที่3สมบัติของธาตุและสารประกอบ
สมบัติของสารประกอบของธาตุตามคาบ
- สมบัติของสารประกอบคลอไรด์ของธาตุในคาบ 2 และ 3
สารประกอบดลอไรด์
คุณสมบัติ |
สารประกอบคลอไรด์ของโลหะ
|
สารประกอบคลอไรด์ของอโลหะ
|
จุดเดือด
|
สูง
|
ต่ำ
|
จุดหลอมเหลว
|
สูง
|
ต่ำ
|
ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย
|
กลาง
ยกเว้นBeCl2 และ NaCl3 ซึ่งป็นกรด |
กรด
|
สารที่ไม่ละลายน้ำ
|
CCl4 NCl5
|
-
|
- สมบัติของสารประกอบออกไซด์ของธาตุในคาบ 2 และ 3
สารประกอบออกไซด์
คุณสมบัติ |
สารประกอบออกไซด์ของโลหะ
|
สารประกอบออกไซด์ของอโลหะ
|
จุดเดือด
|
สูง
|
ต่ำ
|
จุดหลอมเหลว
|
สูง
|
ต่ำ
|
ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย
|
เบส
|
กรด
|
สารที่ไม่ละลายน้ำ
|
BeO Al3O3
|
SiO2
|
สมบัติของธาตุแต่ละหมู่
ธาตุหมู่ I โลหะอัลคาไลน์ 1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1 2. มีเลขออกซิเดชัน +13. ทำปฏิกิริยาได้ดีมาก จึงไม่พบโลหะหมู่ I ในธรรมชาติ แต่จะพบในสารประกอบ สารประกอบทุกตัวเป็นพันธะไอออนิก 4. สารประกอบของโลหะหมู่ I ละลายน้ำได้ทุกตัว5. ทำปฏิกิริยารุนแรงกับน้ำ ได้ด้างและแก๊ส H2
6. ความหนาแน่นต่ำ ลอยน้ำได้ จุดเดือด จุดหลอมเหลว ไม่สูงนัก
1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 2 2. มีเลขออกซิเดชัน +2
3.ทำปฏิกิริยาได้ดี พบโลหะหมู่ II ในธรรมชาติและพบในรูปสารประกอบ สารประกอบส่วนใหญ่เป็นพันธะไอออนิก ยกเว้น Be
4. สารประกอบของโลหะหมู่ II ส่วนใหญ่ ละลายน้ำได้ดี แต่จะไม่ละลายน้ำถ้าเป็นสารประกอบของ CO32- SO42- PO43- ยกเว้นMgSO4
5. ทำปฏิกิริยากับน้ำ ได้ด่างและแก๊ส H2
ธาตุหมู่ VI ชาลโคเจน 1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 6
2. มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ตั้งแต่ -2 ถึง+6
3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมากเมื่อเทียบกับหมู่VII ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบประเภทโครงร่างตาข่าย
ธาตุหมู่ VII เฮโลเจน 1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
2. มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ตั้งแต่ -1 ถึง +7
3. เป็นธาตุหมู่เดียวที่1 โมเลกุล มี 2 อะตอมเรียกว่า Diatomic Molecule
4. พบเป็นธาตุอิสระในธรรมชาติ และพบในรูปของสารประกอบไอออนิกและโคเวเลนต์5. สารประกอบของหมู่ VII ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้ดี ยกเว้นเป็นสารประกอบของ Ag Hg Pb
ธาตุหมู่ VIII แก๊สเฉื่อย , แก๊สมีตระกูล , Inert gas , Noble gas1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 8 ยกเว้น He มีเท่ากับ 22. มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ตั้งแต่ -2 ถึง+6
3. จุดเดือด จุดหลอมเหลวสูงมากเมื่อเทียบกับหมู่VII ส่วนใหญ่เป็นสารประกอบประเภทโครงร่างตาข่าย
ธาตุหมู่ VII เฮโลเจน 1. มีเวเลนส์อิเล็กตรอนเท่ากับ 7
2. มีเลขออกซิเดชันได้หลายค่า ตั้งแต่ -1 ถึง +7
3. เป็นธาตุหมู่เดียวที่1 โมเลกุล มี 2 อะตอมเรียกว่า Diatomic Molecule
4. พบเป็นธาตุอิสระในธรรมชาติ และพบในรูปของสารประกอบไอออนิกและโคเวเลนต์5. สารประกอบของหมู่ VII ส่วนใหญ่ละลายน้ำได้ดี ยกเว้นเป็นสารประกอบของ Ag Hg Pb
2. เฉื่อยชาต่อการเกิดปฏิกิริยามาก แต่สามารถสังเคราะห์ได้
3. มีค่า IE (Ionization Energy) สูงสุดในตาราง และ He มีค่า IE สูงที่สุดในตารางธาตุ 4. เป็นธาตุเดียวที่ไม่มีค่า EN
ตำแหน่งของธาตุไฮโดรเจนในตารางธาตุ
การจัดธาตุให้อยู่ในหมู่ของตารางธาตุจะใช้สมบัติที่คล้ายกันเป็นเกณฑ์
การจัดธาตุให้อยู่ในหมู่ของตารางธาตุจะใช้สมบัติที่คล้ายกันเป็นเกณฑ์
สมบัติ
|
ธาตุหมู่ IA
|
ธาตุไฮโรเจน
|
ธาตุหมู่ VIIA
|
จำนวนวาเลนซ์อิเล็กตรอน
|
1
|
1
|
7
|
เลขออกซิเดชันในสารประกอบ
|
+1
|
+1และ-1
|
+1 +3 +5 +7 -1
|
ค่า IE
|
382-526
|
1318
|
1015-1687
|
อิเล็กโทรเนกาติวิตี
|
1.0-0.7
|
2.1
|
4.0-2.2
|
สถานะ
|
ของแข็ง
|
แก๊ส
|
แก๊ส/ของเหลว/ของแข็ง
|
การนำไฟฟ้า
|
นำ
|
ไม่นำ
|
ไม่นำ
|
สรุป ธาตุไฮโดรเจนมีสมบัติคล้ายหมู่ VIIA หลายหระการ แต่ไม่สามารถนำธาตุไฮโดรเจนมาจัดในหมู่ VIIA ได้ เพราะ จะทำให้แนวโน้มของสมบัติบางประการของธาตุหมู่VIIA เสียไป ปัจจุบันจึงจัดธาตุไฮโดรเจน อยู่ในคาบที่ 1 อยู่ระหว่างหมู่ IA กับ VIIA
ธาตุทรานซิชัน
ธาตุทรานซิชัน ประกอบด้วยธาตุ หมู่ IB ถึงหมู่ VIIIB รวมทั้งกลุ่มแลนทาไนด์กับกลุ่มแอกทิไนด์
1. อยู่ระหว่างหมู่IIA กับหมู่ IIIA เริ่มตั้งแต่คาบ 4 เริ่มที่เลขอะตอม 21
2.การจัดเรียงอิเล็กตรอนจะต่างจากธาตุโดยทั่วไป คือ จะจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุดก่อน แล้วจัดอิเล็กตรอนวงรองจากวงนอกสุดเป็นวงสุดท้าย3.การดึงอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอม จะดึงอิเล็กตรอนวงนอกสุดก่อน เช่นเดียวกับธาตุปกติ4.ธาตุทรานซิชัน จะมีเวเลนต์อิเล็กตรอน เป็น 2,1 เท่านั้น ยกเว้น Cr กับ Cu มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1
5.ธาตุทรานซิชัน จะมีสมบัติเหมือนกันเป็นคาบมากกว่าเป็นหมู่
6.ความหนาแน่นของธาตุทรานซิชันจะสูงมาก และในคาบเดียวกันจะมีความหนาแน่นที่ใกล้เคียงกัน
7.จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของธาตุทรานซิชันจะสูงมาก และสูงมากกว่าหมู่IAและหมู่IIA
8.ค่า IE , EN , E0 ของธาตุทรานซิชันจะสูงมากกว่าโลหะโดยทั่วไป9.ขนาดอะตอมของธาตุทรานซิชันที่เรียงตามคาบจากซ้ายไปขวาจะมีขนาดเล็กลง แต่ใกล้เคียงกันมาก เพราะโลหะทรานซิชัน มีความหนาแน่นสูง 10.ธาตุทรานซิชัน มีเลขออกซิเดชันหลายค่า ยกเว้น Sc กับ Zn มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว
ธาตุทรานซิชัน ประกอบด้วยธาตุ หมู่ IB ถึงหมู่ VIIIB รวมทั้งกลุ่มแลนทาไนด์กับกลุ่มแอกทิไนด์
1. อยู่ระหว่างหมู่IIA กับหมู่ IIIA เริ่มตั้งแต่คาบ 4 เริ่มที่เลขอะตอม 21
2.การจัดเรียงอิเล็กตรอนจะต่างจากธาตุโดยทั่วไป คือ จะจัดเรียงอิเล็กตรอนวงนอกสุดก่อน แล้วจัดอิเล็กตรอนวงรองจากวงนอกสุดเป็นวงสุดท้าย3.การดึงอิเล็กตรอนให้หลุดจากอะตอม จะดึงอิเล็กตรอนวงนอกสุดก่อน เช่นเดียวกับธาตุปกติ4.ธาตุทรานซิชัน จะมีเวเลนต์อิเล็กตรอน เป็น 2,1 เท่านั้น ยกเว้น Cr กับ Cu มีเวเลนซ์อิเล็กตรอนเท่ากับ 1
5.ธาตุทรานซิชัน จะมีสมบัติเหมือนกันเป็นคาบมากกว่าเป็นหมู่
6.ความหนาแน่นของธาตุทรานซิชันจะสูงมาก และในคาบเดียวกันจะมีความหนาแน่นที่ใกล้เคียงกัน
7.จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของธาตุทรานซิชันจะสูงมาก และสูงมากกว่าหมู่IAและหมู่IIA
8.ค่า IE , EN , E0 ของธาตุทรานซิชันจะสูงมากกว่าโลหะโดยทั่วไป9.ขนาดอะตอมของธาตุทรานซิชันที่เรียงตามคาบจากซ้ายไปขวาจะมีขนาดเล็กลง แต่ใกล้เคียงกันมาก เพราะโลหะทรานซิชัน มีความหนาแน่นสูง 10.ธาตุทรานซิชัน มีเลขออกซิเดชันหลายค่า ยกเว้น Sc กับ Zn มีเลขออกซิเดชันเพียงค่าเดียว
สารประกอบของธาตุทรานซิชัน
1.การเกิดสี1.สีของธาตุทรานซิชันจะเปลี่ยนเมื่อเลขออกซิเดชันเปลี่ยน เช่น
สูตร
|
ชื่อ
|
สี
|
Cr2+
|
โครเมียม(II)ไอออน
|
น้ำเงิน
|
Cr3+
|
โครเมียม(III)ไอออน
|
เขียว
|
CrO42-
|
โครเมตไอออน
|
เหลือง
|
Cr2O72-
|
ไดโครเมตไอออน
|
ส้ม
|
Mn2+
|
แมงกานีส(II)ไอออน
|
ชมพูอ่อน, ไม่มีสี
|
Mn(OH)3*
|
แมงกานีส(III)ไฮดรอกไซด์
|
น้ำตาล
|
MnO2*
|
แมงกานีส(IV)ออกไซด์
|
ดำ
|
MnO42-
|
แมงกาเนตไอออน
|
เขียว
|
MnO4-
|
เปอร์แมงกาเนตไอออน
|
ม่วงแดง
|
2.สีจะเปลี่ยนถ้าสารหรือไอออนต่างชนิดกันมาล้อมรอบ เช่นCuSO4.5H2O สีฟ้า และ Cu(NH3)4SO4 สีคราม
3.สีเปลี่ยนเพราะจำนวนสารที่มาเกาะไม่เท่ากัน เช่น CrO42-สีเหลือง และ Cr2O72-
2.สารประกอบเชิงซ้อนของธาตุทรานซิชัน
สารประกอบของธาตุทรานซิชันชนิดต่างๆ เช่น KMnO4 ประกอบด้วย K+ และ MnO-4 ซึ่ง MnO-4 จัดเป็นไอออนเชิงซ้อน ที่มีธาตุทรานซิชันเป็นอะตอมกลางและยึดเหนี่ยวกับอะตอมหรือไอออนอื่นๆที่มาล้อมรอบด้วยพันธะโคเวเลนต์
สารประกอบที่ประกอบด้วยไอออนเชิงซ้อนจัดเป็นสารประกอบเชิงซ้อน ธาตุทรานซิชันส่วนใหญ่จะเกิดเป็นสารประกอบเชิงซ้อนที่มีสีต่างกัน
ปัจจัยที่มีผลต่อสีของสารประกอบเชิงซ้อนของธาตุทรายซิชัน
- เลขออกซิเดชันของธาตุทรานซิชัน - ชนิดของธาตุทรานซิชัน
- จำนวนโมเลกุลหรือไอออนที่ล้อมรอบธาตุทรานซิชัน
ธาตุกึ่งโลหะ
มีคุณสมบัติดังนี้1.มีค่า IE และ EN ค่อนข้างสูง
2.จุดเดือด จุดหลอมเหลว สูง
3.มีความหนาแน่นสูง
4.สามารถนำไฟฟ้าได้
5.สามารถเกิดสารประกอบได้ ทั้งสารประกอบไอออนนิกและสารประกอบโคเวเลนต์
ธาตุกำมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี คือ ธาตุที่มีสมบัติในการแผ่รังสีกัมมันตภาพรังสี คือ ปรากฏการณ์ที่ธาตุแผ่รังสีได้อย่างต่อเนื่อง
การแผ่รังสี เป็นการเปลี่ยนแปลงภายในนิวเคลียสของไอโทปที่ ไม่เสถียร(ไอโซโทปของนิวเคลียสที่มีอัตราส่วนระหว่างจำนวนนิวตรอนต่อจำนวนโปรตอนไม่เหมาะสม) เนื่องจากนิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสีมีพลังงานสูงมากและไม่เสถียร จึงปล่อยพลังงานออกมาในรูปของอนุภาคหรือรังสีบางชนิด แล้วธาตุเหล่านั้นก็จะเปลี่ยนเป็นธาตุใหม่
ชนิดและสมบัติของรังสีบางชนิด
รังสีแอลฟาหรือ อนุภาคแอลฟา
- อนุภาคประกอบด้วย 2 โปรตอน 2 นิวตรอน เหมือนนิวเคลียสของอะตอมฮีเลียม มีเลขมวล 4
- มีประจุไฟฟ้า +2
- มีอำนาจทะลุทะลวงต่ำมาก ไม่สามารถผ่านแผ่นกระดาษหรือโลหะบางๆได้
- เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก โดยเบนเข้าหาขั่วลบ
รังสีบีตา หรือ อนุภาคบีตา
- มีสมบัติเหมือนอิเล็กตรอน
- มีประจุไฟฟ้า -1 มีมวลเท่ากับมวลอิเล็กตรอน
- มีอำนาจทะลุทะลางมากกว่า รังสีแอลฟา ถึง 100 เท่า สามารถผ่านโลหะแผ่นบางๆ
- มีความเร็วใกล้เคียงความเร็วแสง
- เบี่ยงเบนในสนามแม่เหล็ก โดยเบนเข้าหาขั่วบวก
รังสีแกมมา
- เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความยาวคลื่นสั้นมาก
- ไม่มีประจุไม่มีมวล
- มีอำนาจทะลุทะลวงสูงมาก สามารถผ่านแผ่นคอนกรีตหนาๆได้
ครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีแต่ละชนิดจะสลายตัวได้เร็วหรือช้าแตกต่างกัน ปริมาณการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีจะบอกเป็น ครึ่งชีวิต(ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี สลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม) ครึ่งชีวิตเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละไอโซโทป
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านธรณีวิทยา
C-14 หาอายุของวัตตุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
ด้านการแพทย์
I-131 ตรวจดูความปกติของต่อมไธรอยด์
I-132 ตรวจดูภาพสมอง
Na-24 ตรวจดูระบบการไหลเวียนของเลือด
Co-60,Ra-226 รักษาโรคมะเร็ง
P-32 รักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ด้านการเกษตร
P-32 ตรวจวัดรังสีที่ใบของพืช
ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์พืช
Co-60 ทำลายแบคทีเรีย,ถนอมอาการ
ด้านการอุสาหกรรม
รังสีทำให้อัญมณีมีสีสันสวยงามขึ้น
ตรวจหารอยรั่วของท่อส่งน้ำมัน
ด้านพลังงาน
ธาตุกัมมันตรังสีแต่ละชนิดจะสลายตัวได้เร็วหรือช้าแตกต่างกัน ปริมาณการสลายตัวของธาตุกัมมันตรังสีจะบอกเป็น ครึ่งชีวิต(ระยะเวลาที่นิวเคลียสของธาตุกัมมันตรังสี สลายตัวจนเหลือครึ่งหนึ่งของปริมาณเดิม) ครึ่งชีวิตเป็นสมบัติเฉพาะตัวของแต่ละไอโซโทป
ประโยชน์ของธาตุกัมมันตรังสี
ด้านธรณีวิทยา
C-14 หาอายุของวัตตุโบราณที่มีคาร์บอนเป็นองค์ประกอบ
ด้านการแพทย์
I-131 ตรวจดูความปกติของต่อมไธรอยด์
I-132 ตรวจดูภาพสมอง
Na-24 ตรวจดูระบบการไหลเวียนของเลือด
Co-60,Ra-226 รักษาโรคมะเร็ง
P-32 รักษาโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว
ด้านการเกษตร
P-32 ตรวจวัดรังสีที่ใบของพืช
ปรับปรุงเมล็ดพันธุ์พืช
Co-60 ทำลายแบคทีเรีย,ถนอมอาการ
ด้านการอุสาหกรรม
รังสีทำให้อัญมณีมีสีสันสวยงามขึ้น
ตรวจหารอยรั่วของท่อส่งน้ำมัน
ด้านพลังงาน
U-235,U-238,Pu-239 ผลิตไฟฟ้าในโรงไฟฟ้าปรมาณู
โทษของธาตุกัมมันตรังสี
เมื่อร่างกายได้รับรังสีจำนวนมากทำให้โมเลกุลของน้ำ สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ต่างๆ ในร่างกายเสียสมดุล ทำให้เกิดความเสียหายต่อเซลล์ในร่างกาย ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อาจทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ และรังสีแอลฟาจะทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดง
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
เป็นการเปลี่ยนแปลง ในนิวเคลียสของธาตุ และมีพลังงานเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาจำนวนมหาศาล
ปฏิกิริยาฟิชชัน
คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า ในการเกิดปฏิกิริยาในแต่ละครั้งจะคายพลังงานออกมาจำนวนมาก และได้ไอโซโทปกัมมันตรังสีหลายชนิด รวมถึงได้นิวตรอน ถ้านิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่นี้ชนกับนิวเคลียสอื่นๆ ก็จะทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อยๆเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่
เมื่อร่างกายได้รับรังสีจำนวนมากทำให้โมเลกุลของน้ำ สารอินทรีย์และสารอนินทรีย์ต่างๆ ในร่างกายเสียสมดุล ทำให้เกิดความเสียหายต่อเซลล์ในร่างกาย ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ อาจทำให้เซลล์เกิดการเปลี่ยนแปลงหรือกลายพันธุ์ และรังสีแอลฟาจะทำลายเซลล์เม็ดเลือดแดง
ปฏิกิริยานิวเคลียร์
เป็นการเปลี่ยนแปลง ในนิวเคลียสของธาตุ และมีพลังงานเกี่ยวข้องกับปฏิกิริยาจำนวนมหาศาล
ปฏิกิริยาฟิชชัน
คือ กระบวนการที่นิวเคลียสของธาตุหนักบางชนิดแตกออกเป็นไอโซโทปของธาตุที่เบากว่า ในการเกิดปฏิกิริยาในแต่ละครั้งจะคายพลังงานออกมาจำนวนมาก และได้ไอโซโทปกัมมันตรังสีหลายชนิด รวมถึงได้นิวตรอน ถ้านิวตรอนที่เกิดขึ้นใหม่นี้ชนกับนิวเคลียสอื่นๆ ก็จะทำให้เกิดปฏิกิริยาฟิชชันต่อไปเรื่อยๆเรียกปฏิกิริยานี้ว่า ปฏิกิริยาลูกโซ่
ปฏิกิริยาฟิวชัน
คือ กรณีที่นิวเคลียสของธาตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเกิดเป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลสูงกว่าเดิม และให้พลังงานปริมาณมาก การเกิดปฏิกิริยาฟิวชันจะต้องใช้พลังงานเริ่มต้นสูงมาก เพื่อเอาชนะแรงผลักระหว่างนิวเคลียสที่จะเข้ารวมกัน
คือ กรณีที่นิวเคลียสของธาตุเบาสองชนิดหลอมรวมกันเกิดเป็นนิวเคลียสใหม่ที่มีมวลสูงกว่าเดิม และให้พลังงานปริมาณมาก การเกิดปฏิกิริยาฟิวชันจะต้องใช้พลังงานเริ่มต้นสูงมาก เพื่อเอาชนะแรงผลักระหว่างนิวเคลียสที่จะเข้ารวมกัน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)